การสมรสต่างประเทศ
วีซ่าแต่งงาน
(K-3 Visa) ในประเทศไทย เรามีความเชี่ยวชาญ
ด้านการสมรส (K-3 Visa) ตามกฎหมายของประเทศไทยและการจัดการเรื่องการสมรสสำหรับชาวต่างชาติในประเทศไทย การสมรสในประเทศไทยนั้นจะเป็นประสบการณ์ที่แสนวิเศษและน่าจดจำ
ชาวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวจำนวนหลายคนเลือกที่จะสมรสในประเทศไทย
เนื่องจากมีเกาะและรีสอร์ทในต่างจังหวัดจำนวนมากที่แสนโรแมนติค
สำหรับคนอื่นๆสิ่งนี้เป็นสิ่งที่ปฎิบัติได้จริง
การสมรสระหว่างชาวต่างชาติกับคู่หมั้นคนไทยนั้นยังเป็นเรื่อง ที่ค่อนข้างจะปกติ
อีกด้วย ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าสำหรับชาวต่างชาติบางคนที่มีปัญหาความยุ่งยากในการสมรสในประเทศที่พวกเขาอาศัยอยู่นั้น
ประเทศไทยจึงเป็นสถานที่ที่ สะดวกและรวดเร็วในการสมรส คำถามที่พบบ่อยในเรื่องการสมรส
(K-3 Visa) : ขั้นตอนการสมรสในประเทศไทยมีการดำเนินการอย่างไรบ้าง ขั้นตอนการสมรสในประเทศไทย
ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา สำหรับชาวต่างชาติที่จะสมรสในประเทศไทยนั้น
ขั้นแรกจะต้องขอการอนุมัติอย่างเป็นทางการจากสถานทูตของพวกเขาเสียก่อน
อย่างไรก็ตาม ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าสถานทูตต่างๆจะมีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกันในการให้การอนุมัตินี้
เมื่อได้การอนุมัติแล้ว ชาวต่างชาติจะได้รับ Affidavit ซึ่งจะแถลงเกี่ยวกับชื่อของชาวต่างชาติผู้นั้น
ตลอดจนรายละเอียดส่วนตัว เช่น สัญชาติและความมีอิสระตามกฏหมายในการสมรส Affidavit
จะต้องนำมาแปลเป็นภาษาไทยและรับรองความ ถูกต้องตามกฏหมายไทย
เมื่อเตรียม เอกสารครบแล้ว จึงจะสามารถดำเนินการสมรสได้ ณ
ที่ทำการเขตของไทยซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม “ อำเภอ ” หรือ “ เขต ” เหตุใดประเทศไทยจึงเป็นสถานที่ที่เหมาะสมในการสมรสกับคู่สมรสชาวต่างชาติ ในประเทศไทยนั้น
ตามกฏหมาย แล้วชาวต่างชาติสามารถสมรสกับบุคคลสัญชาติไทย
หรือชาวต่างชาติอื่นได้โดยชอบด้วยกฏหมาย ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่า
มีเงื่อนไขว่าจะต้องเป็นไปตามข้อกำหนด การสมรสในประเทศไทยเป็นการสมรสโดยชอบด้วยกฏหมายตามกฏหมายไทย
ซึ่งตามปกติแล้วจะได้รับการยอมรับไปทั่วโลก สำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องการ ข้ามชาติ
ในกรณีคู่สมรสฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายมาจากประเทศต่างกัน
ประเทศไทยเป็นสถานที่ที่มีความสะดวกอย่างมากในการจดทะเบียนสมรส ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่า
ข้อดีอื่นๆ ในการสมรสในประเทศไทย คือ ความหลากหลายของ สถานที่สวยงาม อย่างเช่น
รีสอร์ทริมชายหาดระดับโลก ซึ่งเป็นที่ที่สามารถประกอบพิธีสมรสหรือพิธีทางศาสนาได้
ภายหลังจากมีการดำเนินการสมรสตามกฎหมายแล้ว ยังมีข้อดีอื่น
ๆ อีกหรือไม่สำหรับการสมรสในประเทศไทย สำหรับผู้ที่สนใจในการทำสัญญาก่อนการแต่งงาน
(Prenuptial Agreements) นั้น ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าโดยปกติแล้วระบบกฏหมายของประเทศไทย
จะสนับสนุนการทำสัญญาก่อนการสมรสมากกว่าประเทศอื่นๆในทางตะวันตกที่
(ดูหน้าสัญญาก่อนการสมรส) ดำเนินการสมรส
(K-3) ในประเทศไทย ใช้เวลานานเท่าใด ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่า
รวมเวลาที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการเรื่องการให้ถ้อยคำจากสถานทูต
การนำเอกสารไปแปลและรับรองตามกฏหมาย และการดำเนินการสมรสที่อำเภอในท้องที่แล้ว
ขั้นตอนการสมรสจะเสร็จสิ้นในเวลาเพียง 3-4 วัน ถ้ามีปัญหา ที่ซับซ้อน เช่น
การทำสำเนาเอกสาร ที่สถานทูตหรือข้อเรียกร้อง ที่แตกต่างกัน
สำหรับสถานทูตของบางประเทศนั้น ขั้นตอนการสมรสก็อาจยืดเยื้อออกไปได้ เหตุใดจึงควรจ้างสำนักงานทนายความให้ช่วยเหลือเรื่องการจดทะเบียนสมรส การจ้างทนายความมีประโยชน์ในด้านการให้ความช่วยเหลือและดูแลเรื่องการสมรส
ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่า
เราสามารถช่วยประสานงานในการขอเอกสารทางราชการจากทางสถานทูตและนำไปแปลและรับรองกับกงสุลได้อย่างรวดเร็วโดยที่จะเกิดปัญหาเพียงเล็กน้อย
การที่มี ความรู้อย่างดี เกี่ยวกับพิธีการต่างๆในการสมรสแบบไทย การใช้ผู้แปลเอกสาร
ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและการเข้าใจถึงกระบวนการดำเนินการตามกฏหมายจะช่วยลดความล่าช้าหรือความยุ่งยากซับซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้
สำหรับบุคคลสัญชาติอเมริกันกับคู่สมรสคนไทยนั้น สำนักทนายความในจังหวัดลำพูนที่มีความสามารถ
ซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ในกฏหมายไทย-อเมริกา สามารถช่วยให้ท่านได้รับวีซ่าแต่งงาน (K-3) เพื่อนำคู่สมรสซึ่งเป็นคนไทยเดินทางไปสมรสยังสหรัฐอเมริกาได้ เราสามารถจะจัดเตรียมเอกสารด้วยตนเองได้หรือไม่ ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าสามารถทำได้
ท่านสามารถจะดำเนินการเตรียมเอกสารด้วยตนเองได้แต่อาจต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก
เนื่องจากต้องเดินทางไปหลายสถานที่ เช่น การเดินทางจากหน่วยราชการแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง
ซึ่งอยู่ในเขตต่างกันในกรุงเทพฯ สำหรับผู้ที่จะมาพักผ่อนช่วงวันหยุดในประเทศไทย
และในขณะเดียวกันก็จะจดทะเบียนสมรสด้วยนั้น
ขั้นตอนในการดำเนินการการสมรสเป็นเรื่องที่น่าเบื่อ
ซึ่งอาจทำให้วันหยุดพักผ่อนของท่านกลายเป็นวันหยุดพักผ่อน ที่ต้องทำงาน
ในกรณีที่ต้องการทำสัญญาก่อนการสมรสนั้น ควรจัดทำสัญญาโดยสนง ทนายความ
ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อรับประกันถึง
การมีผลตามกฏหมายของสัญญานั้น
สัญญาก่อนการสมรสที่ร่างขึ้นโดยสำนักงานกฎหมายที่ขาดความชำนาญ
อาจทำให้เกิดความเสี่ยงในเรื่องของการไม่ชอบด้วยกฏหมายตามกฏหมายไทยหรือกฏหมายของประเทศอื่น
ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ >> สัญญาก่อนแต่งงาน (Prenuptial
Agreements) เพื่อที่จะรักษาผลประโยชน์ของตนในอนาคต
ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนสามารถช่วยท่านเกี่่ยวกับสัญญาก่อนแต่งงาน
สำหรับผู้ที่จะแต่งงานในอนาคต สัญญาก่อนแต่งงานสามารถดำเนินการได้ตามกฎหมายไทยในกรณีที่คู่สัญญาต้องการ
ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าของเราสามารถช่วยคุณเกี่ยวกับการเตรียมการเกี่ยวกับสัญญาก่อนแต่งงาน
การแปลเอกสาร และการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายไทย
สัญญาก่อนแต่งงานที่จัดทำขึ้นโดยถูกต้องตามกฎหมายย่อมใช้ได้ในเขตอำนาจศาลที่อยู่นอกประเทศไทย
แม้ว่าการฟ้องร้องจะไม่สามารถคาดเดาได้และกฎหมายแต่ละประเทศจะมีความแตกต่างกันก็ตาม
แต่ก็เป็นการสร้างความปลอดภัยให้แก่ผลประโยชน์ของบุคคล
หรือแม้กระทั่งบุคคลที่ต้องการดูแลเกี่ยวกับการเงินในอนาคต
ก็ย่อมทำสัญญาก่อนแต่งงานได้ คำถามเกี่ยวกับสัญญาก่อนแต่งงาน 1.
ทำไมเราจึงจำเป็นต้องทำสัญญาก่อนแต่งงาน สัญญาก่อนแต่งงานมีความจำเป็นต่อการวางแผนทางการเงินในอนาคต
ซึ่งสามารถจัดการได้ตลอดการแต่งงาน หรือในเวลาแยกทางกันหลังการแต่งงาน
นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์สำหรับบุคคลที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินและประสงค์จะจัดการทรัพย์สินในกรณีที่มีการหย่าร้าง 2.
เราสามารถทำสัญญาหลังจากจดทะเบียนสมรสแล้วได้หรือไม่ ตามกฎหมายไทย
สัญญาที่ทำขึ้นหลังจากแต่งงานแล้ว มีผลไม่เหมือนกับสัญญาก่อนแต่งงงาน
(โปรดดูเรื่องแต่งงาน) 3. ฉันเป็นคนต่างชาติ
และต้องการพาคู่หมั้นซึ่งเป็นคนไทยของฉันกลับไปยังประเทศบ้านเกิด
กฎหมายใดที่ฉันจะจ้างให้ทำสัญญาก่อนแต่งงานให้แก่ฉันได้ ท่านควรเลือกสำนักงานกฎหมายหรือทนายความที่มีความเชี่ยวชาญทั้งกฎหมายไทยและกฎหมายตะวันตก
ซึ่งนั่นจะทำให้มั่นใจได้ว่าสำนักงานกฎหมายหรือทนายความนั้นมีความเข้าใจในรายละเอียดเกี่ยวกับการเตรียมสัญญาก่อนแต่งงานตามกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ
เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศภาคพื้นยุโรป ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าสำนักงานกฎหมายหรือทนายความที่ดีย่อมร่างสัญญาก่อนแต่งงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายไทย
และ เป็นไปตามข้อกำหนดขั้นต่ำของกฎหมายประเทศบ้านเกิดของท่าน 4.
ทำไมฉันจึงต้องระมัดระวังในการว่าจ้างบริษัทกฎหมายในการเตรียมสัญญาก่อนแต่งงาน สัญญาก่อนแต่งงานเป็นเรื่องที่ควรระวัง
เพราะสัญญาดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของคุณในอนาคต มีสำนักงานกฎหมายหรือทนายความจำนวนมากที่รับทำงานนี้
แต่ไม่มีคุณภาพเพียงพอที่จะดำเนินการ ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าคุณควรจะเลือกสำนักงานกฎหมายหรือทนายความที่ดำเนินการทางด้านการหย่าและเข้าใจในรายละเอียดของสัญญาก่อนแต่งงานระหว่างประเทศ
และสิทธิพื้นฐานในประเทศไทย และประเทศที่เกี่ยวข้อง 5.
ทรัพย์สินประเภทใดบ้างที่สามารถระบุไว้ในสัญญาก่อนแต่งงาน ขึ้นอยู่กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งอาจเป็นกฎหมายไทยหรือกฎหมายของประเทศของคู่สมรส
หรือผสมกันระหว่างกฎหมายทั้งสองประเทศ ภายใต้กฎหมายไทย ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าคุณอาจจะระบุทรัพย์สินที่เกี่ยวข้อง
และแยกทรัพย์สินออกเป็นสองประเภท คือ สินสมรสและสินส่วนตัว
คุณสามารถระบุว่าคุณจะจัดการเกี่ยวกับการเงินของคุณอย่างไรในระหว่างการแต่งงาน
อย่างไรก็ตามข้อจำกัดเรื่องค่าเลี้ยงดูบุตรโดยทั่วไปแล้วไม่ได้รับอนุญาต 6.
ผลต่างกันหรือไม่ระหว่างการที่ฉันแต่งงานที่ประเทศไทยกับที่ประเทศบ้านเกิดของฉัน แตกต่างกัน
เนื่องจากรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายขัดกัน และความเหมาะสมของกฎหมายทั้งสอง ดังนั้น
เป็นเรื่องสำคัญที่ทนายความของคุณจะต้องเข้าใจทั้งกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ >> การหย่าในประเทศไทย (Divorce) การพิจารณาโดยทั่วไปสำหรับการหย่าในประเทศไทย ในขณะที่การจัดการเรื่องการสมรสในประเทศไทยนั้นเป็น
กระบวนการที่ค่อนข้างตรงไปตรงมา แต่ การขอหย่าก็อาจจะมีความยุ่งยากซับซ้อนขึ้นอีกเล็กน้อย
มีปัจจัยหลายประการที่จะเข้ามามีบทบาทเมื่อมีการประเมินว่าจะ
เป็นไปได้หรือไม่ที่จะหย่าโดยชอบด้วยกฏหมายในประเทศไทย โดยปกติแล้วอาจกล่าวได้ว่า ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่า
ถ้าปัจจุบันท่านหรือคู่สมรสของท่านอาศัยอยู่ในประเทศไทย
ท่านสามารถยื่นฟ้องหย่าในประเทศไทยได้ ถ้าทั้งสองฝ่ายขอหย่าร่วมกัน
การดำเนินการหย่าก็ค่อนข้างเป็นเรื่องง่าย แต่ถ้าคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่สมัครใจ
หรือไม่สามารถเข้าร่วมในการดำเนินคดีหย่าได้
กระบวนการทางกฎหมายก็อาจเกิดความซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากมีหลายปัจจัยที่อาจเข้ามาเกี่ยวข้องซึ่งโดยปกติแล้วจะมีความจำเป็นที่ต้องได้รับความช่วยเหลือบริการทางทนายความของ
ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนเพื่อแนะนำท่าน
ในการดำเนินขั้นตอนซึ่งมีความซับซ้อนนี้ ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนมีความรู้และความเข้าใจในตัวแปรหลายๆประการที่มีความแตกต่างกัน
ซึ่งเกิดขึ้นในการดำเนินคดีหย่าที่มีความยุ่งยากซับซ้อน
และทีมทนายความด้านการหย่าของเราจะให้บริการในลักษณะ ที่เป็นการเฉพาะบุคคล
เพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เป็น การเฉพาะของแต่ละท่าน จะดำเนินการหย่าในประเทศไทยได้อย่างไร
ถ้าทั้งคู่สมรสและตัวข้าพเจ้าเองยินยอมที่จะหย่าถ้าก่อนหน้านี้ท่านได้จดทะเบียนสมรสไว้ที่สำนักงานเขตในพื้นที่
(เขตหรืออำเภอ) ท่านอาจจะดำเนินการ จดทะเบียนหย่า ได้ ในประเทศไทย ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าการดำเนินการหย่าที่สำนักงานเขตในพื้นที่นั้นกำหนดไว้ว่าท่านและคู่สมรสของท่านจะต้องไม่มีข้อโต้แย้งเรื่องการปกครองบุตรหรือทรัพย์สิน
( “ การหย่าที่ไม่มีการโต้แย้ง ” ) ถ้ามีสินทรัพย์ที่จะต้องแบ่งกันหรือในเรื่องที่เกี่ยวกับการปกครองบุตร
ขอ แนะนำให้มีทนายความเชียงใหม่ไปร่วมในการดำเนินการหย่าในลักษณะนี้ด้วย
โดยปกติแล้วการเขียนสัญญาการหย่าไว้ล่วงหน้าจะเป็นการดี เมื่อจดทะเบียนหย่า ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าเจ้าพนักงานจะถามคำถามท่านเกี่ยวกับแผนการในอนาคตของท่าน
สถานการณ์ด้านการเงินและบุตร (ถ้ามี)
และจะให้ท่านกรอกแบบฟอร์มที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไขในการหย่าและเรื่องอื่น
ๆ โดยในการหย่านั้นจะต้องมีพยานรับรองจำนวนสองคน อย่างไรก็ตาม ถ้าหากว่ามีการโต้แย้งการหย่า
คู่กรณีจะต้องดำเนินการผ่านระบบศาล โดยในการยื่นฟ้องต่อศาลเพื่อขอหย่านั้น
โจทก์หรือจำเลย (หรือทั้งสองคน) จะต้อง เป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย จะเป็นอย่างไรถ้าคู่สมรสของข้าพเจ้าไม่ยอมหย่า ถ้าภรรยาหรือสามีไม่ยินยอมหย่า
ท่านจะต้องยื่นมูลฟ้องต่อศาล ในการดำเนินการหย่าในกรณีนี้
ตามระเบียบการดำเนินการหย่าแล้ว
ท่านจะต้องอ้างมูลเหตุในการหย่าและท่านจะต้องมาแสดงตัวต่อศาลด้วยตนเอง
โดยทั่วไปแล้วมูลเหตุในการหย่าในประเทศไทยมีดังนี้ : *
แยกกันอยู่เป็นระยะเวลา 3 ปี *
คู่สมรสฝ่ายหนึ่งได้ทอดทิ้งอีกฝ่ายหนึ่งนานกว่าหนึ่งปี *
สามีมีหรือภริยาอุปการะเลี้งยงดูหรือยกย่องผู้อื่นฉันภริยาหรือสามี *
สามีเป็นชู้หรือภริยามีชู้ * คู่สมรส
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง กระทำความผิด (ไม่ว่าจะเป็นความผิดตามกฎหมายอาญาหรือไม่) * คู่สมรส
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ถูกจำคุกเป็นเวลาเกินหนึ่งปี * คู่สมรส
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ทำร้ายร่างกายหรือจิตใจอีกฝ่ายหนึ่ง *
ไม่เลี้ยงดู อุปการะ คู่สมรส ตามสมควร * คู่สมรส
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง มีความวิกลจริตที่ไม่อาจรักษาได้เป็นเวลาอย่างน้อย 3 ปี *
คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีความประพฤติที่ไม่ดี * คู่สมรส
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เป็นโรคติดต่อที่ไม่สามารถรักษาได้ *
คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีสภาพแห่งกายทำให้ไม่อาจร่วมประเวณีได้ฉันท์สามีภรรยา จะเป็นอย่างไรถ้าคู่สมรสของข้าพเจ้าหรือข้าพเจ้าอยู่ในต่างประเทศ ถ้าไม่มีการโต้แย้งการหย่า
ทั้งสองฝ่ายจะต้องมาที่ที่ทำการอำเภอเพื่อจดทะเบียนหย่าถ้าท่านสมรสและคู่สมรสของท่านไม่เห็นชอบกับการหย่าในประเทศไทย
ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าท่านจะต้องขอคำตัดสินจากศาล
ถ้าท่านอยู่ในต่างประเทศ ทีมทนายความลำพูน สามารถยื่นฟ้องหย่าแทนท่านได้
อย่างไรก็ตาม ท่านจะต้องมาด้วยตนเองเมื่อศาลพิจารณาการฟ้องหย่า
ถ้าคู่สมรสของท่านไม่มาแสดงตัวหรือไม่กลับมายังประเทศไทยเพื่อโต้แย้งการหย่า
ท่านยังสามารถดำเนินการได้
โดยที่มีเงื่อนไขว่าคู่สมรสของท่านต้องได้รับแจ้งถึงการดำเนินการหย่าอย่างเพียงพอเหมาะสมแล้ว
จะต้องยื่นขอหมายจากศาลไทย ถ้าคู่สมรสของท่านไม่ได้อยู่ในประเทศไทย
และอาจอนุญาตให้ดำเนินการอย่างอื่น (อย่างเช่น โดยการลงประกาศ) ในบางสภาพการณ์
ถ้าคู่สมรสของท่านไม่ตอบหมายศาลจะมีการดำเนินคดีหย่าโดยถือเป็นการผิดนัด จะมีการแบ่งทรัพย์สินและหนี้สินค้างชำระกันอย่างไรในกรณีที่มีการหย่า ประเทศไทยมี
อำนาจตัดสินคดี ที่เกี่ยวข้องกับ “ สินสมรส ” เมื่อคู่สมรสจะหย่ากันในประเทศไทย ทรัพย์สินส่วนบุคคล (สินส่วนตัว)
ซึ่งได้แก่สินทรัพย์และทรัพย์สินที่ถือครองมาก่อนการสมรส
โดยปกติแล้วจะยังคงเป็นทรัพย์สินของผู้เป็นเจ้าของ สินทรัพย์และทรัพย์สินที่ถือครองในระหว่างการสมรสนั้นโดยทั่วไปแล้วจะถือเป็นสินสมรสโดยที่คู่สมรสทั้งสองฝ่ายมีกรรมสิทธิ์
ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่ากฎซึ่งเกี่ยวกับการแบ่งทรัพย์สินนั้นมีความซับซ้อนและศาลไทยจะเป็นผู้แบ่งทรัพย์สินตามกฎหมายตามข้อเท็จจริงแต่ละประการในคดีหนี้สินที่เกิดขึ้นระหว่างการสมรส
ไม่ว่าที่เกี่ยวกับครอบครัว
การรักษาพยาบาลหรือการศึกษานั้นโดยทั่วไปจะอยู่ในความรับผิดชอบของทั้งสองฝ่าย ถ้าข้าพเจ้ามีสัญญาก่อนการสมรสแล้วจะเป็นอย่างไร ในประเทศไทยนั้นอนุญาตให้มีการทำสัญญาก่อนการสมรสได้โดยที่มีเงื่อนไขว่าจะต้องสอดคล้องกับข้อกำหนดวิธีปฏิบัติในกฎหมายไทย
ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าสัญญาก่อนการสมรสที่จัดทำขึ้นอย่างถูกต้องนั้นโดยปกติแล้วจะถือเป็นสัญญาที่มีผลใช้ได้ตามกฎหมายในเขตอำนาจศาล
ในการที่จะให้สัญญาก่อนการสมรสมี ผลตามกฎหมายในเรื่องที่เกี่ยวกับ
การสมรสที่จดทะเบียนในประเทศไทยนั้นจะต้องให้ทั้ง สองฝ่ายลงชื่อในสัญญา
ตลอดจนมีพยานสองคนด้วย และจะต้องยื่นต่อสำนักงานเขตในพื้นที่ไว้เป็นการล่วงหน้า >> สิทธิความเป็นบิดาในประเทศไทย ในประเทศไทย
สิทธิความเป็นบิดาเกิดขึ้นได้จากทั้งการแต่งงานกับมารดา โดยคำสั่งศาล หรือจากการจดทะเบียน จากการพิจารณา
บิดาผู้ให้กำเนิดอาจจะสร้างความสัมพันธ์กับลูกของเขาซึ่งไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
ดังนั้นจึงไม่มีสิทธิโดยชอบธรรมตามกฎหมายในตัวบุตรของเขา กฎหมายสิทธิความเป็นบิดาในประเทศไทย สิทธิและความรับผิดชอบของบิดาที่ระบุไว้ในบรรพ
5 : ครอบครัว, ลักษณะ 2 :
ความเป็นบิดาและบุตรแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศไทยกำหนดว่า
บุตรที่เกิดมาจากบิดามารดาที่แต่งงานกันถือว่าเป็นบุตรที่ถูกต้องตามกฎหมายของสามี
บุตรที่เกิดนอกสมรสโดยทั่วไปแล้วถือว่ามารดาเป็นมารดาที่ถูกต้องตามกฎหมายของบุตร ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่ามารดาผู้ให้กำเนิดจึงเป็นสิทธิตามกฎหมายโดยอัตโนมัติแต่สิทธิของบิดาไม่ได้เป็นเช่นนั้น
ความเข้าใจผิดคือ ชื่อบิดาในสูติบัตรสิ่งที่กำหนดสิทธิความเป็นบิดา
แต่การเรียกร้องดังกล่าวเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
การดูแลบุตรสามารถที่จะเรียกร้องได้ระหว่างผู้เป็นสามี ภรรยาหรือผู้ปกครอง
ซึ่งบุตรจะได้รับการตัดสินโดยศาล สิทธิของบิดาต่างชาติในประเทศไทย โดยทั่วๆไปกฎหมายของต่างประเทศเป็นเช่นเดียวกันกับสิทธิความเป็นบิดาในประเทศไทย
เพื่อที่จะมีสิทธิในตัวบุตรหนึ่งคนนั้น ผู้เป็นบิดาจะต้องแต่งงานกับมารดา
หรือมีเอกสารหลักฐานเพื่อเรียกร้องสิทธิความเป็นบิดาตามกระบวนการทางกฎหมาย ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าประเด็นหนึ่งที่สำคัญเกี่ยวกับบิดามารดาชาวต่างชาติกับคู่สมรสชาวไทย
คือการก่อตั้งสิทธิความเป็นพลเมืองของบุตรในประเทศถิ่นกำเนิดของคู่สมรสชาวต่างชาติ
การพิสูจน์ความเป็นพลเมืองมักจะเป็นไปในแนวทางเดียวกันกับกฎหมายต่างประเทศและกฎหมายไทย
: แต่ละประเทศจะมีความต้องการตามกฎหมายของตนเอง การพิสูจน์ความเป็นบิดาในประเทศไทย การพิสูจน์ความเป็นบิดานอกสมรสจะเกี่ยวข้องกับศาลชำนัญพิเศษ
และขั้นตอนการจดทะเบียนในประเทศไทย
สำหรับพิสูจน์สิทธิของความเป็นบิดาที่เป็นชาวต่างชาติ, สถานทูตแต่ละแห่งจะมีระเบียบการพิจารณาของเขาเอง
ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่ารวมถึงหลักฐานการยื่นเอกสารทางกฎหมาย
โดยเฉพาะการทดสอบ DNA และคำสั่งศาล >> การเลี้ยงดูบุตรในประเทศไทย ปัญหาของการเลี้ยงดูบุตรมักเกิดขึ้นจากการหย่าและข้อพิพาทระหว่างผู้ฟ้องร้องที่ไม่ได้แต่งงานกัน
ส่วนใหญ่แล้วมารดาของบุตรจะฟ้องผู้เป็นบิดาเพื่อให้เลี้ยงดูบุตร ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าอย่างไรก็ตามยังมีความเป็นไปได้สำหรับบิดาที่มีสิทธิในตัวบุตรที่ต้องการเลี้ยงดูบุตรของพวกเขา ถ้ามารดาและบิดาสามารถตกลงกันได้ที่จะเลี้ยงดูบุตร
ข้อตกลงนี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่สามารถทำให้ข้อตกที่กำหนดไว้ลดน้อยได้
บ่อยครั้งที่สัญญาหรือข้อตกลงเป็นสิ่งที่นำไปดำเนินการหย่าร้าง ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าถ้าคู่สมรสสามารถตกลงกันได้ทำให้มีความเป็นไปได้ง่ายในการจดทะเบียนหย่าที่สำนักงานเขตของรัฐบาล ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรณีการหย่าร้าง
อย่างไรก็ตาม หากมารดาและบิดาไม่ได้แต่งงานกัน สิ่งที่ทำได้คือ
การทำข้อตกลงระหว่างกันหรือไปยื่นคำร้องที่ศาล ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ หากคู่สัญญาไม่สามารถตกลงตามเงื่อนไขของการเลี้ยงดูบุตรได้
ทนายลำพูนและทีมทนายความลำพูนขอเรียนว่าสามารถร้องเรียนเพื่อจะยื่นฟ้องต่อศาลเพื่อเรียกร้องค่าเลี้ยงดูบุตรได้
คดีจะตัดสินโดยคณะกรรมการตัดสินกลางศาลเยาวชนและครอบครัวแห่งประเทศไทย
องค์คณะศาลจะพิจารณาปัจจัยต่างๆประกอบ การพิจารณาในเรื่องที่เกี่ยวกับแผนการเลี้ยงดูบุตร อย่างไรก็ตาม
ปัญหาแรกที่ศาลต้องตัดสินใจว่าจะเป็นไปตามความในกฎหมายที่ใช้บังคับ
คือหน้าที่ที่ยังคงต้องจ่ายค่าเลี้ยงดูบุตรอยู่
หากมีหน้าที่ดังกล่าวศาลจะพิจารณารายได้ที่สัมพันธ์กันของทั้งคู่
ค่าใช้จ่ายของบุตรและปัจจัยอื่น ๆ เพื่อตรวจสอบจำนวนเงินที่ใช้เลี้ยงดูบุตร #ทนายลำพูนอาสาช่วยท่านด้วยใจ
#ทนายลำพูน #ทนายความลำพูน
#ทนายลำพูนเก่ง #ปรึกษาทนายลำพูน #ทนายอาสาลำพูน #ปรึกษาทนายลำพูนฟรี #ทนายความลำพูนมืออาชีพ #ที่ปรึกษากฎหมายลำพูน #ปรึกษาทนายลำพูน #รายชื่อทนายความลำพูน #สำนักทนายความลำพูน #ทนายเก่งๆลำพูน #สภาทนายความลำพูน #สำนักงานกฎหมายลำพูน #ทนายที่ดินลำพูน #ทนายอาสาศาลลำพูน #ทนายอาสาศาลากลางลำพูน #กฎหมายลำพูน #สำนักงานทนายความลำพูน #สำนักงานกฎหมายลำพูน
#สำนักงานกฎหมายในจังหวัดลำพูน #ทนายฝึกงานลำพูน
#ฝึกงานทนายลำพูน #LawFirmลำพูน #ปรึกษาทนายลำพูน #ทนายเก่งลำพูน #ทนายลำพูนpantip #ทนายอาสาลำพูน #ปรึกษาทนายฟรีลำพูน
#ทนายลำพูนเก่ง #ทนายความลำพูนเก่ง #ทนายอาสาลำพูนฟรี #สํานักงานกฎหมาย ลำพูน #ทนายครอบครัวลำพูน

Share on Facebook

|